ดาวอินคา กิฟฟารีน สรรพคุณ ประโยชน์ ดีอย่างไร

ดาวอินคา กิฟฟารีน น้ำมันถั่วดาวอินคา ลดไขมันในเส้นเลือด บำรุงสมอง ดีต่อหัวใจ

 

ดาวอินคา กิฟฟารีน

 

เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับดาวอินคา

ดาวอินคา (Sacha Inchi) มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Plukenetia volubilis L. จัดเป็นพืชที่ให้น้ำมัน ขึ้นอยู่ตามบริเวณลุ่มน้ำอเมซอนแถบประเทศเปรู ในอดีตเมล็ดของดาวอินคาจะถูกนำไปสกัดเป็นน้ำมัน เพื่อนำไปใช้ในการประกอบอาหารของชาวอินคา

ซึ่งในปัจจุบันดาวอินคากำลังเป็นที่สนใจและมีการนำมาเพาะปลูกในเชิงพาณิชย์ และนำมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เนื่องจากมีคุณค่าทางโภชนาการสูงและมีคุณประโยชน์ต่อสุขภาพ

น้ำมันดาวอินคาคืออะไร

น้ำมันดาวอินคา(Sacha Inchi Oil) เป็นน้ำมันที่สกัดได้จากเมล็ดดาวอินคา โดยผ่านกระบวนกรรมวิธีการบีบอัดและไม่ผ่านกระบวนการทางเคมีใดๆ (virgin oil) ทำให้ได้น้ำมันดาวอินคาที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูง และ มีกลิ่นรสที่ดี

ส่วนประกอบในน้ำมันดาวอินคา

·       มีกรดไขมันจำเป็นครบถ้วนทั้ง 2 ตัว และปริมาณสูง คือ

o   กรดอัลฟาไลโนเลนิก หรือ เอแอลเอ (กรดไขมันชนิดโอเมก้า 3) ประมาณ 40-50%

o   กรดไลโนเลอิก(กรดไขมันชนิดโอเมก้า 6)ประมาณ 30-40%

 

ซึ่งกรดไขมันเหล่านี้ มีความจำเป็นต่อร่างกายและร่างกายไม่สามารถสร้างได้เองต้องได้รับจากอาหารเท่านั้น

·       มีสัดส่วนของกรดไขมันชนิดโอเมก้า 6 ต่อ โอเมก้า 3 อยู่ในช่วง 0.83-1.09 :1  ซึ่งเป็นสัดส่วนที่ดีต่อสุขภาพ บำรุงสมอง

·       มีโทโคฟีรอล ซึ่งพบมากในรูป แกมม่า(Gamma-tocopherol)ประมาณ 0.13% และ เดลต้าโทโคฟีรอล (Delta-tocopherol)ประมาณ 0.09% ซึ่งมีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระประสิทธิภาพสูง

·       มีไฟโตสเตอรอล ซึ่งมีคุณสมบัติเด่นในการช่วยลดโคเลสเตอรอลทั้งในเลือดและทางเดินอาหาร

·       มีสารประกอบฟินอลิกมากกว่า 21 ชนิด อาทิเช่น  ไฮดรอกซีไทโรซอล(Hydroxytyrosol),สารกลุ่มฟลาโวนอยด์ (flavonoid) และสารกลุ่มลิกแนน (lignan)เป็นต้น ซึ่งสารกลุ่มดังกล่าว มีคุณสมบัติเป็นสารต้านอนุมูลอิสระที่ดี ช่วยลดความเสี่ยงโรคหลอดเลือดและหัวใจ (อ้างอิงที่ 2,3)

 

 

น้ำมันดาวอินคาจัดเป็นไขมันที่ดีต่อสุขภาพแหล่งหนึ่งที่ได้จากพืชที่  ซึ่งจะช่วยให้ร่างกายได้รับไขมันที่จำเป็นต่อร่างกายได้อย่างเพียงพอ อีกทั้งยังช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคร้ายต่างๆได้อีกด้วย

❇️ ประโยชน์ของน้ำมัน ดาวอินคา กิฟฟารีน กับสุขภาพโดยรวม 

✅ ลดระดับไตรกลีเซอไรด์และ LDL  เพิ่มระดับ HDL ในเลือด
✅ ป้องกันโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด
✅ มีสารต้านอนุมูลอิสระ ป้องกันความเสื่อมของร่างกาย
✅ ช่วยปกป้องเซลล์สมอง ช่วยฟื้นฟูความจำ
✅ ยับยั้งการเกิดเซลล์มะเร็งต่างๆในร่างกาย

ส่วนประกอบที่สำคัญ : น้ำมันดาวอินคา 500 มก.

วิธีรับประทาน :  รับประทานวันละ 1-2 แคปซูล พร้อมอาหาร

เหมาะสำหรับ : ผู้ที่นิยมการบริโภคน้ำมันดาวอินคา หรือต้องการลดระดับไขมันในเลือด ป้องกันโรคหลอดเลือดและหัวใจ

รหัสสินค้า : 82047
ขนาดบรรจุ : 60 แคปซูล
ราคา : 780 บาท ราคาสมาชิก 585 บาท

** สั่งซื้อวันนี้  ส่งฟรีทั่วประเทศ **

!สั่งซื้อออนไลน์ได้แล้ววันนี้
​!ส่งถึงหน้าบ้าน

ติดต่อสอบถามได้ทุกช่องทาง
ซื้อสินค้าออนไลน์/ติดต่อสอบถาม

Tel : 0942254927

Line : @beergiff

 


เอกสารอ้างอิง

1.Semino, C..A., Rojas, F.C., Zapata, E.S. 2008. Protocolo del cultivode Sacha Inchi. (Plukenetia volubilis L.). La Merced, Peru.

2.Do Prado IM, Giufrida WM, Alvarez VH, Cabral VF, Quispe–Condori S, Saldana MDA, Cardozo L. 2011. Phase equilibriummeasurements of Sacha Inchi oil (Plukenetia volubilis L.) and CO2 at high pressures. J. Am. Oil. Chem. Soc.(88):1263–1269.

3.Hamaker, B.R., Valles, C., Gilman, R., Hardmeier, R.M., Clark, D., Garcia, H.H., Gonzales, A.E., Kohlstad,    I., Castro, M.,Valdivia, R., Rodriguez, T., Lescano, M. 1992. Anino–acidand fatty–acid profiles of the Incha peanut (Plukenetia volubilis L.). Cereal Chem. (69): 461–463.

4.Garmendia, F., Pando, R., Ronceros, G., 2011. [Effect of sacha inchi oil (Plukenetia volubilis L.) on the lipid

profile of patients with hyperlipoproteinemia]. Rev. Peru. Med. Exp. Salud Publica 28 (4):628–632

5.ธนกฤตศิลปธรากุล. 2559. ประสิทธิผลของอาหารเสริมจากน้ำมันถั่วดาวอินคาในรูปรับประทานต่อการทำงานของสมองด้านสติปัญญา.งานประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3. 14-21.

6. Cai, Z.Q,, Yang, Q., Tang, S.X., Dao, X.S. 2011. Nutritional evaluationin seeds of woody oil crop Plukenetia volubilis Linneo. Acta Nutrimenta Sinica. (33)193–195.

7.Jiang., Q., Wong, J., and Ames, B. N. (2004). γ‐Tocopherol Induces Apoptosis in Androgen‐Responsive LNCaP Prostate Cancer Cells via Caspase‐Dependent and Independent Mechanisms. Annals of the New York Academy of Sciences1031(1): 399-400.

 

Facebook Comments